อบต.สระแก้ว อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด



ทำเนียบบุคลากร

ออนไลน์ : 3

หัวข้อ:: กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลสระแก้ว


กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลสระแก้ว
ยินดีต้อนรับ
คณะกรรมการพัฒนาการดำเนินงานและประสานงานระบบหลักประกันสุขภาพ อำเภอพนมไพร
ด้วยความยินดียิ่ง

ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ตำบลสระแก้ว
ตั้งอยู่ที่  องค์การบริหารส่วนตำบลสระแก้ว หมู่ที่ 2  ตำบลสระแก้ว อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด    อยู่ห่างจากอำเภอพนมไพรประมาณ  2  กิโลเมตร
เขตการปกครองแบ่งออกเป็น  9  หมู่บ้าน คือ

หมู่ที่ 1 บ้านเจริญศิลป์  (นายนิญา  กุมภาษี)   กำนันตำบลสระแก้ว
หมู่ที่ 2 บ้านสระแก้ว (นายปรีชา  เมยมงคล)   ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 3 บ้านสระแก้ว (นายทองสินธุ์   วงษ์ละคร)   ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 4 บ้านสระแก้ว (นายคำพันธ์    หันตุลา)   ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 5 บ้านสระแก้ว (นายฉวี  ใขบุตรดี)   ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 6 บ้านโนนทราย (นายทองสา  หันตุลา)  ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 7 บ้านสระทอง (นายมานิต  ศิริมี)   ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 8 บ้านโพธิ์ศรี (นายสุริยา  ทุมชาติ)  ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ที่ 9 บ้านสระแก้ว(นายปานทอง  ชัยนิช)  ผู้ใหญ่บ้าน

อาณาเขต
ทิศเหนือ  ติดกับ ต.แสนสุข อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดกับ ต.พนมไพร  อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
ทิศตะวันตก  ติดกับ ต.วารีสวัสดิ์ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
ทิศใต้    ติดกับ ต.พนมไพร  อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด
ประชากร / หน่วยงานราชการในพื้นที่
ประชากร   จำนวน  3,714คน 
  ชาย  จำนวน  1,882คน
  หญิง จำนวน  1,832 คน
 
 
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตำบลสระแก้ว
1. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพนมไพร     ที่ปรึกษา
2. สาธารณสุขอำเภอพนมไพร   ที่ปรึกษา
3. นายบุญโพธิ์    จ่าหล้า      ประธานกรรมการ
4. นายนิญา      กุมภาษี     กรรมการ
5. นายสายตา    พนมแก    กรรมการ
6. นายทองขาว   สีมาคำ  กรรมการ
7. นายบัวพันธ์    จันทะไพร  กรรมการ
8. นางพิสมัย     สุภะโส      กรรมการ
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตำบลสระแก้ว(ต่อ)
9. นางเตือนใจ    นิจำปา  กรรมการ
10. นางปิ่น    เพียรโคตร  กรรมการ
11. นายปรีชา    เมยมงคล  กรรมการ
12. นายทองสินธ์   วงษ์ละคร  กรรมการ
13. นาฉวี    ใขบุตรดี      กรรมการ
14. นายทองสา   หันตุลา   กรรมการ
15. นายสุริยา  ทุมชาติ  กรรมการ
16. นางสาวนัธภัทร   เศษลือ        กรรมการและเลขานุการ



คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ตำบลสระแก้ว(ต่อ)
17. นางสุนี    ศรีวิทยานนท์        ผช. กรรมการและเลขานุการ
18. นายพิชัย    สีพลี       อนุกรรมการ
19. นายสมชาย   ทองเสนา             อนุกรรมการ
20.  นายธนพงศ์     นิจำปา            อนุกรรมการ
21.  นางนิยม    บุญมาโค     อนุกรรมการ
22. นายณัฐวุฒิ   อุ่นเจริญ       อนุกรรมการ
23. นายกฤษฎา    หงศาลา      อนุกรรมการ
o
o
o
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ตำบลสระแก้ว(ต่อ)
24. นางละมุน     หันตุลา             อนุกรรมการ
25. นายพงษ์ไทย   บุญพันธ์           อนุกรรมการ
26. นางสาวทิพวรรณ   นันตะเคน     อนุกรรมการ
การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตามบันทึกข้อตกลง [ MOU]  ได้จัดทำข้อตกลงนี้ขึ้น
เมื่อปี พ.ศ. 2553
  ระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  โดย
 ผู้อำนวยการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  เขต 7  ขอนแก่น  และองค์การบริหารส่วนตำบลสระแก้ว  โดย นายบุญโพธ์    จ่าหล้า 
       นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสระแก้ว
แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลสระแก้ว
หมวดการประเมิน
   ก การบริหารจัดการกองทุน
   ข การมีส่วนร่วม
   ค ผลลัพธ์การดำเนินงาน
1.1.กรรมการมีความรู้  ความเข้าใจในเรื่องวัตถุประสงค์กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแล อำนาจหน้าที่และการใช้จ่ายงบประมาณใน 5  หมวดกิจกรรม
หมวดการประเมิน   ก. การบริหารจัดการกองทุน
ข้อที่ 1.ศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน


แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือท้องที่



1.2.กรรมการผ่านการพัฒนาให้ความรู้  ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการกองทุน

เวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทำแผนพัฒนา 3 ปี
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สระแก้ว  ได้ร่วมประชาคม และได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการดำเนินงาน ของปี 2560 และประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการในปี  2560





1.3. การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนมีกรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย 80 %
ของทุกครั้ง
คิดเป็นร้อยละ  14 x 100  = 87.35%
17

การประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสระแก้ว
ณ ห้องประชุม อบต.สระแก้ว
1.4 มีการประเมินผลการบริหารจัดการกองทุนอย่างน้อยตามแบบ
          ประเมินที่กำหนดเพื่อการพัฒนากองทุน
  แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลสระแก้ว

ประเมินตนเองได้คะแนน  93  คะแนน
ได้เกรด  A
2. กระบวนการใช้จ่ายงบประมาณ
2.1. มีการจัดทำระเบียบข้อบังคับของกองทุน
2.2. แผนงานโครงการที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุน
                                                                                                             

2.3.โครงการที่สนับสนุนงบประมาณไม่ขัดต่อระเบียบการใช้เงินกองทุน


2.4.กิจกรรมที่นอกเหนือจากกิจกรรมหมวดที่ 4 มีเอกสารโครงการ และทุกโครงการมีการทำข้อตกลงและหลักฐานการรับ - จ่ายเงิน









2.5 กิจกรรมหมวดที่ 4 (การบริหารจัดการกองทุน)มีบันทึกมติกรรมการหรือมีการใช้จ่ายตามระเบียบข้อบังคับของกองทุน และมีหลักฐานการรับ - การจ่ายเงิน

ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ  ติดตาม และประเมินผล ด้านการเงิน
3.1 มีการรายงานด้านการเงินเสนอต่อกรรมการกองทุน


  3.2  มีการรายงานการใช้เงินตามกิจกรรม/โครงการครบถ้วนและถูกต้องทุกไตรมาสใน Website โปรแกรมกองทุน

  3.2. มีการรายงานการใช้เงินตามกิจกรรม/โครงการครบถ้วนและถูกต้องทุกไตรมาสใน Website โปรแกรมกองทุน

  3.3 มีการส่งรายงานสรุปผลการดำเนินงาน  รายงานการรับจ่ายเงินคงเหลือประจำเดือนรายงานการการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพประจำไตรมาส

ข้อ 4. ระบบควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ด้านการดำเนินงานโครงการกองทุนฯ
4.1 มีการติดตามประเมินการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

หมวดการประเมิน   ข. การมีส่วนร่วม
ข้อที่ 5 การคัดเลือกกรรมการกองทุนและการมีส่วนร่วมคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ  คณะทำงาน
5.1 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ให้คณะกรรมการ หรือมีการแต่งตั้งอนุกรรมการ/คณะทำงาน

5.2 คณะกรรมการกองทุนมีการประชุมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 4  ครั้ง


5.3 มีการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุนทุกครั้ง

5.4 ที่ปรึกษากองทุนเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย  2  ครั้งต่อปี

5.5 คณะกรรมการอนุกรรมการมีการประชุม/ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

ข้อที่ 6. การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความสนใจของชุมชนต่อบทบาท ภารกิจ และผลงานของกองทุน
6.1 มีการประกาศทองหอกระจายข่าว หรือเสียงตามสาย หรือติดประกาศป้ายประชาสัมพันธ์

6.2 มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของกองทุนทางหนังสือพิมพ์ หรือวิทยุ /วิทยุชุมชนหรือเคเบิ้ล หรือโทรทัศน์  หรือเวปไซต์ของท้องถิ่น หรือสื่ออิเล็คทรอนิกส์

6.3 มีการสำรวจความพึงพอใจและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ข้อที่ 7. การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
7.1 มีการสมทบเงินกองทุนจากประชาชนหรือกองทุนอื่นๆ
เงินสมทบจากภาคประชาชน  จำนวน  200+300 + 500 + 1,000
  =  2,000  บาท


ข้อที่ 8. การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาใช้ในการบริหารจัดการกองทุน
8.1 มีกระบวนการจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วม

หมวดการประเมิน   ค. ผลลัพธ์การดำเนินงาน
ข้อที่ 9. มีกิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายระดับประเทศ
9.1 มีกิจกรรมคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ดูแลผู้พิการ ดูแลผู้สูงอายุ
     โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ  ตำบลสระแก้ว



9.2 มีกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ  และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนู  ให้ความรู้การดูแลเด็กก่อนปฐมวัยแก่ผู้ปกครองตำบลสระแก้ว ปี 2560

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ  ตำบลสระแก้ว

9.3 มีการใช้งบประมาณในการดำเนินกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของเงินรายรับประจำปีงบประมาณ 

ข้อที่ 10. การใช้จ่ายงบประมาณกองทุนเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่
10.1 กองทุนมีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างน้อย 80 % ของเงินในบัญชีทั้งหมดในงบฯ นั้นๆ

ข้อที่ 11. การให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนเป็นผู้ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ  ป้องกันโรค
11.1 กองทุนมีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างน้อย 40 % ให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนเป็นผู้ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค


ข้อที่ 12. ความสอดคล้องของแผนงานประจำปีกับโครงการในปีงบประมาณ
12.1 โครงการที่ได้รับสนับสนุนงบฯสอดคล้องกับแผนงานประจำปีงบประมาณ

ข้อที่ 13. การนำเสนอผลของโครงการต่อกรรมการต่ออนุกรรมการกองทุนและองค์กรอื่นๆ
13.1 มีการรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการในที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนและบันทึกผลแต่ละโครงการลงใน Website โปรแกรมกองทุนตำบล

ข้อที่ 14. การสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
14.1 มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่สามารถแก้ปัญหาสุขภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
ภาพกิจกรรมต่างๆในโครงการ

โครงการตำบลสระแก้วเข้มแข็ง สุขภาพดีด้วยวิถีชุมชน  ปี 2560

โครงการสถานประกอบการอาหารสะอาด  ปลอดภัยร้านขายของชำใกล้บ้านห่วงใยสุขภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย ตำบลสระแก้ว ปี 2560

โครงการสตีไทยห่างไกลโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

โครงการสร้างชุมชนสระแก้วเลิกดื่มเหล้า/เลิกสูบบุหรี่  เพื่อสุขภาพดี ชีวีสดใส 2560

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาเครือข่ายและศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสระแก้ว  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด

โครงการ อสม. น้อย ในโรงเรียนประถมศึกษา

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ  ตำบลสระแก้ว

โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนู  ให้ความรู้การดูแลเด็กก่อนปฐมวัยแก่ผู้ปกครองตำบลสระแก้ว  ปี 2560
จบการนำเสนอ

 


ดาวน์โหลด วันที่ โหลด
วันที่ : 16 พฤศจิกายน 60 View : 419
รายละเอียด :  
ผู้ตอบ :  
อักขระ :